บทความ

การเปิด NTP Server บนเครื่อง windows server 2003

รูปภาพ
การกำหนดค่า Windows เป็น NTP Server แบบสแตนด์อโลน Windows ใช้บริการ W32Time เป็นทั้ง NTP client และ server  บริการถูกปิดโดยค่าเริ่มต้น  ดังนั้นการกำหนดค่าระบบเป็นเซิร์ฟเวอร์ NTP ต้องมีทั้งการเปิดใช้งานเซอร์วิส W32Time และการกำหนดค่าเป็นเซิร์ฟเวอร์  กระบวนการนี้ง่ายมาก ขั้นแรกให้ใช้บริการคอนโซลเพื่อค้นหาบริการ Windows Time  อาจเป็นไปตามที่แสดงในรูปที่ 1 รูปที่ 1 Windows Time ยังไม่เปิดใช้งานหรือเริ่มทำงาน คุณจำเป็นต้องเริ่มต้นบริการและกำหนดค่าให้เริ่มต้นโดยอัตโนมัติดังแสดงในรูปที่ 2 รูปที่ 1 Windows Time ยังไม่เปิดใช้งานหรือเริ่มทำงาน การเปิดใช้บริการเซิร์ฟเวอร์ NTP ต้องการการปรับเปลี่ยนรีจิสทรีอย่างรวดเร็ว  เปิด Regedit และไปที่  HKEY_LOCAL_MACHINE \ System \ CurrentControlSet \ Services \ W32Time \ TimeProviders \ NtpServer  และเปลี่ยน  Enabled  จาก 0 เป็น 1 ซึ่งแสดงในรูปที่ 3 รูปที่ 3 การเปลี่ยนค่าที่เปิดใช้งาน NtpServer เป็น 1 ขั้นตอนต่อมาคือการปรับปรุงการกำหนดค่าที่ใช้งานของ Windows Time service  คุณท...

การแปลงกระแส DC เป็น AC

รูปภาพ
  ตัวอย่าง   SPS 5V. 60A efficiency 80% , power factor 0.65

Ubuntu SSH Fix for “Agent admitted failure to sign using the key”

รูปภาพ
Ubuntu SSH Fix for “Agent admitted failure to sign using the key” For the past few weeks I’ve had problems logging into servers using my SSH keys from Ubuntu desktops. The following would happen each time: [ chris@work ~ ]$ ssh server Agent admitted failure to sign using the key. Permission denied (publickey). [ chris@work ~ ]$ Oddly, this only happened from my Ubuntu desktop systems. My Ubuntu servers had no issue connecting. After some digging, I found out that issues with the gnome-keyring were at fault. gnome-keyring doesn’t always handle specific formats of SSH keys correctly. Unfortunately, gnome-keyring was trying to handle all SSH key usage, preventing the keys from working. If you are having this issue, you can confirm that gnome-keyring is at fault on your system by added  SSH_AUTH_SOCK=0  in front of the ssh command as follows: [ chris@work ~ ]$ SSH_AUTH_SOCK=0 ssh server Welcome to Ubuntu 14.10 (GNU/Linux 3.13.0-37-generic x86_64) * ...

การ login ข้ามเครื่องผ่าน ssh โดยไม่ต้องกรอก password

รูปภาพ
การ login ข้ามเครื่องผ่าน ssh โดยไม่ต้องกรอก password การ remote login โดยไม่ต้องใส่ password นี้สามารถทำได้โดยการใช้ PKI (Public Key Infrastruture) เข้าช่วยในการทำ เพื่ออำนวยความสะดวกในการทำงาน ที่จะต้อง remote ระหว่างเครื่อง การ remote ไปยังเครื่องปลายทางโดยไม่ต้องใส่ password สามารถทำได้โดย เครื่องต้นทาง 1. ทำการสร้ายคีย์ขึ้นมาโดยใช้คำสั่ง ssh-keygen root@clusterkit:~# ssh-keygen Generating public/private rsa key pair. Enter file in which to save the key (/root/.ssh/id_rsa): Created directory '/root/.ssh'. Enter passphrase (empty for no passphrase): Enter same passphrase again: Your identification has been saved in /root/.ssh/id_rsa. Your public key has been saved in /root/.ssh/id_rsa.pub. The key fingerprint is: d3:75:67:fe:d9:8d:1a:fe:a8:33:71:c1:45:48:b0:08 root@clusterkit-desktop The key's randomart image is: +--[ RSA 2048]----+ |          .++..  | +-----------------+ root@clusterkit-desktop:~# ...

ภาษา python

รูปภาพ
เริ่มต้นเขียนโปรแกรมกับ PYTHON          เนื่องจากผมได้รับมอบหมายจาก บริษัท คลัสเตอร์คิท จำกัด ให้เขียน Application หนึ่งอันที่ใช้สำหรับการควบคุมการ เปิด-ปิด Compute Node ของระบบ Cluster เพื่อช่วยลดอัตราการใช้พลังงานของระบบ โดยพิจารณาจากงานในระบบ ถ้าหากเครื่องใดไม่ได้ทำงาน ก็จะสั่งปิดเครื่องโดยอัตโนมัติ และในทางตรงกันข้าม เมื่อมีคน Submit งานเข้ามาในระบบ เครื่องจะต้องถูกเปิดโดยอัตโนมัติ เช่นกัน          ตอนแรกผมคิดจะพัฒนา Application นี้ ด้วยภาษา C เนื่องจากเป็นภาษาที่ผมคุ้นเคย แล้วก็ทำได้ดีที่สุดภาษาหนึ่ง แต่พี่กิ๊ (พี่ที่ปรึกษาในการสหกิจศึกษาครั้งนี้) ได้แนะนำให้ใช้ภาษาไพธอน (Python) โดยพี่กิ๊ ให้เหตุผลว่า การพัฒนาโดยใช้ภาษา C จะยากเกินไป ให้ลองใช้ไพธอน จะสามารถพัฒนาได้ง่ายกว่า พร้อมกับให้ยืมหนังสือมาอีกหนึ่งเล่ม ซึ่งตอนนั้นผมก็ไม่รู้ว่ามันดีกว่ายังไง (แล้วระหว่างภาษาซีที่รู้อยู่แล้ว กับต้องมาศึกษาภาษาไพธอนใหม่อีกหนึ่งภาษา อันไหนมันยากกว่ากันแน่ 555) แต่ก็เดาเอาไว้ในใจว่ามันคงจะมีฟังก์ชั่นพิเศษบางอัน ที่จะมาช่วยให้ผมจับเหตุก...

Install Matlab on Rocks Cluster

รูปภาพ
การติดตั้งโปรแกรม MATLAB บนระบบปฏิบัติการ Rocks Cluster ทดสอบบน ระบบปฏิบัติการ Rocks 6.4 1. Run install      # ./install 2. ติดตั้งตามหน้าจอกราฟฟิคไปเรื่อยๆ เลือกที่ Install without using the internet เพื่อติดตั้งแบบไม่ใช้อินเตอร์เนต  3.  ระบุค่า Installation Key แบบ Network  (โดยปกติจะอยู่ใน Directory ของ Matlab) 4.  เลือก Directory ที่จะใช้ติดตั้ง Matlab      /share/apps/matlab2011a/ 5.  ระบุตำแหน่งที่เก็บ License File 6. กด Install เพื่อเริ่มต้นติดตั้ง 7 . หน้าจอถามหาไฟล์ network.lic ให้กด ok ผ่านไปก่อนเลย ไฟล์จะถูกสร้างขึ้นทีหลัง 8.  หน้าจอสรุปตอนสุดท้าย 9. เริ่มต้นการใช้งาน Matlab     # /share/apps/matlab2011a/bin/matlab      ในการเรียกใช้งานครั้งแรกระบบจะให้ Activate อีกครั้ง ให้เลือก Activate manually without the internet ในหน้าจอถัดไปให้เลือกไปที่ไฟล์  Standalone License 10. เลือกติดตั้ง Lic...

การส่งงานประมวลผลในระบบคลัสเตอร์ด้วย SGE

รูปภาพ
การส่งงานประมวลผลในระบบคลัสเตอร์        SGE (Sun Grid Engine) คือ โปรแกรมบริหารจัดการทรัพยากรบนคลัสเตอร์ และเป็นตัว scheduler จัดลําดับงานบนคลัสเตอร์ให้ทํางานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถรองรับการสั่งงานจากผู้ใช้ได้มากกว่า 100 งานพร้อมกัน และจัดลำดับการทำงานตามเงื่อนไขที่ผู้ดูแลกำหนด       ผู้ใช้แต่ละคนสามารถส่งงานไปประมวลผลผ่านโปรแกรม SGE แล้วสามารถที่จะออกจากระบบได้เลยโดยไม่ต้องรอให้งานเสร็จ ระบบจัดลำดับงานของ SGE จะเลือกเครื่องประมวลผลให้เองโดยอัตโนมัติ โดยผลลัพธ์ และ ข้อผิดพลาด จะถูกบันทึกไว้ในไฟล์       คำสั่งพื้นฐานของ SGE qsub      :   คำสั่งส่งงานไปประมวลผล qstat     :    คำสั่งแสดงสถานะการทำงาน qdel       :   คำสั่งยกเลิกงานที่ประมวลผล qhost     :   คำสั่งแสดงเครื่องประมวลผลที่สามารถติดต่อได้ในขณะนี้ การเขียนสคริปต์งาน        การเขียนสคริปต์งาน เป็นการระบุโปรแกรมที่ต้องการประมวลผล โดยในสคริปต์งานหนึ...

การเลือกใช้เครื่องสำรองไฟ (UPS)

รูปภาพ
การเลือกใช้เครื่องสำรองไฟ (UPS) วันนี้ผมได้รับมอบหมายให้ออกแบบระบบสำรองไฟฟ้าของ เครื่องคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์ ที่จะทำการติดตั้ง       ก่อนอืนเรามาทำความรู้จักกับ UPS คร่าวๆกันก่อน ขนาดของ UPS จะมีหน่วยวัด เป็น VA (Volts-Amp) หรือ kVA  ซึ่งค่า VA นี้จะเป็นตัวบอกว่าเราจะใช้งาน กับเครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดเท่าใด ซึ่งมีวิธีคำนวณแบบง่ายๆ        เมื่อเรารู้ว่าเครื่องใช้ไฟฟ้าเราต้องการใช้ไฟกี่วัตต์ (Watts)  (มีบอกไว้หลังเครื่องใช้ไฟฟ้า)  เราก็นำ ค่าวัตต์นี้ไปหารด้วยค่า Power factor (ดูได้บน UPS) แล้วเราจะได้เป็นค่า VA ออกมา ซึ่งค่า VA นี้จะเป็นตัวบอกว่าเราจะใช้ UPS ขนาดเท่าใด        หรือในทางตรงกันข้ามเมื่อเราทราบค่า VA จาก UPS เราสามารถหาค่าวัตต์ที่ UPS จ่ายได้จากการนำ ค่า VA คูณกับ ค่า Power factor จะได้เป็นจำนวณวัตต์ที่ UPS สามารถจ่ายได้ ดังนั้นการออกแบบระบบสำรองไฟฟ้าของ เครื่องคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์ ซึ่งประกอบด้วย         -  เครื่อง FrontEnd Node จำานวน 1 เครื่อ...